Monday, October 15, 2012

4 Door ภาษีแพงกว่ารถเก๋ง คิดไงหว่า

http://www.bt-50club.com/thread-10098-1-1.html


รถกระบะ 4 ประตูนั้นคิดตามความจุกระบอกสูบรวม(CC) ของรถ ดังนี้
วิธีการคิด
1. 600 ซีซี แรก ซีซีละ 0.5 บาท = 600x0.5 = 300 บาท
2. 601-1800 ซีซีๆ 1.50 บาท = (1800 - 600)x1.50 = 1200 x 1.50 = 1,800 บาท
3. เกิน 1800 ซีซีๆ 4 บาท = (2494 - 1800) x 4 = 694 x 4.00 = 2,776 บาท
4. คิดเป็นภาษี = 300 + 1,800 +2,776 = 4,876 บาท

ตัวอย่าง
Vigo Prerunner เครื่อง3000 ซีซี (2982 )
วิธีคิดอัตราค่าเสียภาษี
1. 600 ซีซี แรก ซีซีละ 0.5 บาท = 600x0.5 = 300 บาท
2. 601-1800 ซีซีๆ .1.50 บาท = (1,800 - 600) x1.50 = 1200 x 1.50 = 1,800 บาท
3. เกิน 1800 ซีซีๆ 4 บาท = (2,982 – 1,800) x 4 = 1,182 x 4.00 = 4,728 บาท
4. คิดเป็นภาษี = 300 + 1,800 + 4,728 = 6,828 บาท……….(1)
ค่า พรบ. 645 บาท/ปี...........(2)
สรุป (1)+(2)= 7,473 บาท


หริือเครื่อง2500 cc
ISUZU D-MAX เครื่อง  2500  ซีซี (ไม่ทราบความจุจริงสมมุติ2500เต็มละกัน)
วิธีคิดอัตราค่าเสียภาษี
1. 600 ซีซี แรก ซีซีละ 0.5 บาท = 600x0.5 = 300 บาท
2. 601-1800 ซีซีๆละ 1.50 บาท = (1,800 - 600) x1.50 = 1200 x 1.50 = 1,800 บาท
3. เกิน 1800 ซีซีๆละ  4 บาท = (2,500 – 1,800) x 4 = 600 x 4.00 = 2,400 บาท
4. คิดเป็นภาษี = 300 + 1,800 + 2,400 = 4,500 บาท……….(1)
ค่า พรบ. 645 บาท/ปี...........(2)
หากเสียภาษีช้าต้องเสียค่าปรับเดือนละ 1% = 45.00 x 0 = 0.00 บาท.......(3)
รวม  + (1)+(2)+(3)  = 4,500 + 645 + 0 บาท   = 5,145.00  บาท

Mazda BT 50PRO เครื่อง  2200  ซีซี (2,198)
วิธีคิดอัตราค่าเสียภาษี
1. 600 ซีซี แรก ซีซีละ 0.5 บาท = 600x0.5 = 300 บาท
2. 601-1800 ซีซีๆ .1.50 บาท = (1,800 - 600) x1.50 = 1200 x 1.50 = 1,800 บาท
3. เกิน 1800 ซีซีๆ 4 บาท = (2,198 – 1,800) x 4 = 398 x 4.00 = 1,592 บาท
4. คิดเป็นภาษี = 300 + 1,800 + 1,592 = 3,692 บาท……….(1)
ค่า พรบ. 645 บาท/ปี...........(2)
หากเสียภาษีช้าต้องเสียค่าปรับเดือนละ 1% = 37.00 x 0 = 0.00 บาท.......(3)
รวม  + (1)+(2)+(3)  = 3,692 + 645 + 0 บาท   = 4,337.00  บาท 


เครื่อง3200 ของคิดไม่ยากครับซีซีจริง 3198 ซีซี เอ้าใครคิดออก..เร็ว
แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นในปีที่6เป็นต้นไปมีการลดภาษีให้ดังนี้
ตัวอย่างเครื่อง2982 cc
ปีที่ 6 ลด 10% = 6,828 -10% = 6,145 บาท
ปีที่ 7 ลด 20% = 6,828 -20% = 5,462.4 บาท
ปีที่ 8 ลด 30% = 6,828 -30% = 4,780 บาท
ปีที่ 9 ลด 40% = 6,828 -40% = 4,097 บาท
ปีที่ 10 ลด 50% = 6,828 -50% = 3,414 บาท
ปีที่ 11 => ตลอดอายุการใช้รถเสียภาษีปีละ 3,414 บาท

No comments:

Post a Comment

Popular Posts