- ปกติที่เคยใช้มาใน Ubuntu รุ่นก่อนๆ นะ เค้าจะ auto mount ให้
- แต่ทำไมวันนี้ มันไม่เป็นงั้นแล้วนิ
Solved
- ตรวจสอบหาชื่อ External drive ที่เราเชื่อมต่อ ในที่นี้ชื่อ disk จะเป็น sdb พาร์ชั่นที่จะได้จะประมาณ sdb1
sudo fdisk -l | grep NTFS
- สร้าง directory รองรับ drive
sudo mkdir /mnt/ntfs
mount -t ntfs /dev/sdb1 /mnt/ntfs
Ref
- https://linuxconfig.org/how-to-mount-partition-with-ntfs-file-system-and-read-write-access
- ตามหัวข้อเลยคือ เราจะสร้าง USB Boot drive สำหรับติดตั้ง Windows 10 บน Ubuntu 18.04
- สำหรับคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ไบออสแบบใหม่ UEFI
- ก่อนอื่นเลย ต้อง เสียบ thumb drive ที่จะสร้าง Bootable เข้ากับเครื่องคอมฯ เรา
Solved
- เราจะใช้ Gparted เป็นต้วช่วยในการสร้าง
- ติดตั้งและเปิดใช้งานด้วยคำสั่งนี้
sudo apt install gparted && sudo gparted
- จากน้นเลือก drive ที่เป็น thumb drive ในทีนี้คือ /dev/sdb
- ทำการ unmount thumb drive
- สร้าง partition table สำหรับรองรับการบูตแบบ UEFI
- จากนั้นคลิกขวาที่ thumb drive เลือก New
- และเลือก File system: เป็น fat32 และกดปุ่ม Add
- สุดท้ายเลือก Apply (ปุ่มเครื่องหมายถูกสีเขียวอยู่ด้านล่างเมนูบาร์)
- จากนั้น mount .iso ไฟล์ของ Windows ด้วย Disk Image Mounter
- ตามด้วยคัดลอกไฟล์ทั้งหมดใน drive ที่เราทำการ mount .iso
- เมื่อคัดลอกไฟล์เรียบร้อย USB Bootable เราสามารถใช้ติดตั้ง Windows บนคอมฯ ที่มี boot mode แบบ UEFI ได้แล้วคับ
Env
Related
- http://juuier.blogspot.com/2018/05/creating-windows-10-bootable-usb-for.html
Ref&images
- https://www.linuxbabe.com/ubuntu/easily-create-windows-10-bootable-usb-ubuntu
- ตามหัวข้อเลยคือ เราจะสร้าง USB Boot drive สำหรับติดตั้ง Windows 10 บน Ubuntu 18.04
- สำหรับคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ไบออสแบบรุ่นดั้งเดิมที่เราใช้ๆ กันมานานแล้ว
- มีสองวิธีการทำตามนี้
- แต่ก่อนอื่นเราต้องต่อ thumb drive เข้ากับคอมฯ เราก่อนเริ่มขั้นตอนด้านล่างนี้
Solved 1
- เราจะใช้ตัวช่วยที่ชื่อ WoeUSB ติดตั้งด้วยคำสั่ง
sudo add-apt-repository ppa:nilarimogard/webupd8
sudo apt update
sudo apt install woeusb
- เปิดโปรแกรมแบบ GUI ด้วยคำสั่ง
sudo woeusbgui
- เราสามารถเลือก source ว่าจะเอาจาก .iso หรือ แผ่น DVD
- และด้านล่างเลือก USB Drive ที่เรามี
- เมื่อเลือก option ครบแล้ว กดปุ่ม Install ได้เลย
Solved 2
- หรือเราสามารถใช้โปรแกรมสร้างแผ่น USB Bootable Windows 10 ผ่านคอมมานไลน์ ด้วยคำสั่งประมาณนี้
- ตรวจสอบว่า เครื่องเรามี thumb drive plug กับเครื่องแล้วหรือยัง
lsblk
- โดยทั่วไป disk ลูกแรกในเครื่องจะมีชื่อเป็น sda ส่วน drive ตัวต่อมา ก็จะประมาณ sdb, sdc เรียงไปเรื่อยๆ ถ้าเครื่องเรามี disk ลูกเดียว thumb drive ที่ ต่อเพิ่มเข้ามาก็จะเป็น sdb ประมาณนี้
- จากนั้น unmount มันก่อนเลย
sudo unmount /dev/sdb1
- จากนั้น แนะนำให้ไฟล์ต้นฉบับทำเป็น .iso จะเร็วกว่าสร้างจาก DVD Drive
- เราจะทำการสร้าง USB Bootable ด้วยคำสั่งประมาณนี้
sudo woeusb -V --device windows-10.iso /dev/sdb
Env
Add
- ในกรณีที่เราใช้คอมพิวเตอร์ หรือ โน๊ตบุ๊ค รุ่นใหม่ๆ ซึ่งจะได้ Boot mode แบบ UEFI ตั้งมาเป็นค่าเริ่มต้น
- การสร้าง USB Bootable ด้วยวิธีตามโพสนี้ เราต้องเปลี่ยนระบบ Boot mode เป็น Legacy ก่อนถึงจะบูตและติดตั้ง Windows จาก thumb drive นี้ได้
Ref
- https://www.linuxbabe.com/ubuntu/easily-create-windows-10-bootable-usb-ubuntu
- https://www.omgubuntu.co.uk/2017/06/create-bootable-windows-10-usb-ubuntu
- ลงระบบ Ubuntu 18.04 ติดตั้ง LAMP แต่ตั้งรหัส ของ user mysql ไม่ได้มัน error งี้
mysql> SET PASSWORD = PASSWORD('test');
ERROR 1819 (HY000): Your password does not satisfy the current policy requirements
Solved
- ปิดระบบ validation policy plugin ซะพี่น้อง สงสัยตอนติดตั้งไม่ได้อ่านให้ละเอียดเค้าลง plugin ตัวนี้มาให้ด้วย
mysql> uninstall plugin validate_password;
mysql> INSTALL PLUGIN validate_password SONAME 'validate_password.so';
- ตรวจสอบ plugin เปิดใช้งานอยู่หรือไม่โดย
mysql> SELECT PLUGIN_NAME, PLUGIN_STATUS FROM INFORMATION_SCHEMA.PLUGINS
-> WHERE PLUGIN_NAME LIKE 'validate%';
Ref
- https://www.techietown.info/2017/02/how-to-disable-mysql-password-validation-plugin/
- https://techglimpse.com/disable-mysql-password-validation-plugin/
- จำได้ว่าสมัยก่อนเวลาเราพิมพ์คำสั่ง gksu ตามด้วยชื่อโปรแกรม ใน Terminal หรือ Run เช่น
gksu nautilus /var/www/html
- เราจะได้หน้าต่างขึ้น GUI มาให้ใส่รหัสเพื่อขอสิทธิ์ admin
- แต่ทำไม Ubuntu 18.04 มันใช้ gksu ไม่ได้ แล้ว
- apt-get install gksu ก็ไม่ได้แล้ว
E: Package 'gksu' has no installation candidate
- อยากได้หน้าต่างแบบเดิม หรือคล้ายๆ เดิม กลับมา จะทำไงดีล่ะทีนี้
Solved
- เราใช้คำสั่งประมาณนี้แทนได้เลย
nautilus admin:///var/www/html
Ref
- https://itsfoss.com/gksu-replacement-ubuntu/
Install
sudo add-apt-repository ppa:danielrichter2007/grub-customizer
sudo apt-get update
sudo apt-get install grub-customizer
- เปิดโปรแกรมพิมพ์ คำสั่งนี้ใน terminal
grub-custmizer
Remove
sudo apt-get remove --autoremove grub-customizer
Ref
- http://tipsonubuntu.com/2018/03/11/install-grub-customizer-ubuntu-18-04-lts/
- ได้โน๊ตบุ๊คมาใหม่ Acer Aspire 5 A515-51G-51YY ไม่มี DVD Drive
- เค้าลง EndLess มาให้ใช้ ด้วยแฮะ แต่มันจะลงโปรแกรมเพิ่มเติมก็ยากลำบากยิ่งนัก ต้องโหลดซอสมาคอมไฟล์ ติดตั้งเอง ตายฮ่าสิแบบนี้
- มีแผ่น Windows 7 ไม่มี DVD Drive
- มองเห็นเพียง USB port คับพี่น้อง ที่น่าจะพอพึ่งพาอาศัยได้ ในการติดตั้งระบบใหม่
- ลองหาข้อมูลวิธีสร้าง USB Bootalble Ubuntu เจอสิคับ เค้าบอกให้ Disk ซึ่งเป็นโปรแกรมจัดการ Disk ใน EndLess มีมาให้ใช้คับพี่น้อง โชคดีจัง
- จัดการโหลด
- ใช้ฟังก์ชั่น Restore image เลือกไปที่ไฟล์ที่เราโหลดมา .iso และ USB drive ที่เราจะสร้าง Bootable USB สร้าง เรียบร้อย
- มัน Boot เล่น USB Ubuntu live ได้คับพี่น้อง
- ทำการติดตั้ง เกือบเสร็จ ได้ Error ขึ้นมา 1 กล่องคับ เหอๆ
- ประมาณนี้ error msg คือเข้าใจว่ามันติดตั้ง Grub ไม่ได้จะทำให้ไม่สามารถเข้าระบบได้ว่างั้น
Grub-efi-amd64-signed failed installation /target/
- ปิดหน้าต่าง error message แล้ว มันขึ้น No bootable device ประมาณนี้แหละคับพี่น้อง
- จากที่หาข้อมูลพบว่า มันมีปัญหาการติดตั้งกับ ระบบ Bios แบบใหม่คือ EFI ซึ่งเราก็พึ่งเคยใช้ Notebook ที่มี Bios ประเภทนี้คับ
- มีวิธีแก้ปัญหา 2 วิธี
Solved 1
- เข้าไบออส โดยกด F2 ซ้ำๆ ตอนขึ้นโลโก้ Acer ขณะกำลังบูตเครื่องใหม่ๆ
- ไปที่เมนูประมาณ Boot mode เปลี่ยนระบบการบูตจาก EFI (ค่าเริ่มต้นมาแบบนี้) ไปเป็น Legacy (ระบบ Bios แบบเดิมๆ) รีบูตระบบ 1 รอบ เท่านี้เราก็จะติดตั้ง Ubuntu ได้ปกติ ไม่มี error อะไรทั้งสิ้น
Solved 2
- เราไม่ต้องไปยุ่งวุ่นวาย เปลี่ยนค่า Boot mode มันมาไงก็ใช้แบบนั้นคือ เราจะใช้ EFI ต่อไป
- แต่เพียงสร้าง EFI System partition ขนาดสัก 100 - 200 MB ก็มาลองรับเพื่อติดตั้งเกียวกับระบบบูตของมันเท่านนั้นก็พอ ซึ่งการสร้าง จะสร้างขณะติดตั้ง Ubuntu ได้เลยโดยเพียงเลือก แบ่ง drive แบบ Manual แค่นั้นคับ
- แล้วกำหนด partition สำหรับ Ubuntu ก็ปกติ ทั่วไป คือ ต้องมี / (root) อันนี้ไม่มีกะได้
- จากนั้นติดตั้งตามปกติ ระบบก็จะค้นหา EFI parition เองเพื่อติดตั้ง Boot ให้ระบบ
- เพียงเท่านี้ก็ไม่มี error ติดตั้งและใช้งาน Ubuntu กับ Computer โดยใช้ EFI ต่อได้เลยคับ
Env
- Ubuntu 18.04
- Acer Aspire 5 A515-51G-51YY
Additional
- ทดลองใช้ Disk สร้าง Bootable สำหรับ Windows 10 มัน Restore .iso ไม่มีปัญหา แต่ไม่สามารถใช้ boot เข้า USB เพื่อติดตั้งได้
Ref
- https://askubuntu.com/questions/789998/16-04-new-installation-gives-grub-efi-amd64-signed-failed-installation-target
- https://linoxide.com/distros/install-ubuntu-18-04-dual-boot-windows-10/
- ติดตั้ง LAMP พร้อมตั้งค่า พาสเวิร์ด root ของ MySQL เรียบร้อย
- เปิด Terminal แล้วพิมพ์ mysql -u root -p ใส่รหัสผ่าน ไง๋มันขึ้นงี้
ERROR 1698 (28000): Access denied for user 'root'@'localhost'
- อ้าวเราทำอะไรผิดไปหรือป่าว ลองถอน mysql-server แล้วลงใหม่ก็ยังเหมือนเดิม
Solved
- เค้าบอกว่าต้องใช้สิทธิ์ admin จึงจะเข้าได้
sudo mysql -u root -p
Env
Ref
- https://www.youtube.com/watch?v=ArAGkzkVjE4
- https://www.digitalocean.com/community/tutorials/how-to-install-linux-apache-mysql-php-lamp-stack-ubuntu-18-04
- ลง LAMP เรียบร้อย
- ไปดาวน์โหลด phpmyadmin ตัวใหม่มาลงแตกไฟล์ไปที่ /var/www/html/phpmyadmin
- เข้า localhost/phpmyadmin มัน login ด้วย root ไม่ได้ ทำไงล่ะที่นี้ ก็เมื่อก่อนมัน (Ubuntu version ก่อนๆ เช่น 16.xx --) ก็ใช้งานได้ปกติ
Solved
- ในที่มาบอกว่า ประมาณเรื่องความปลอดภัย ทำให้ไม่สามารถใช้ root เข้า phpmyadmin ได้
- เค้าแก้ปัญหาโดยเพิ่ม user และกำหนดสิทธิ์ให้ user นั้นเทียบเท่า root ไปเลย
sudo mysql -u root
mysql> use mysql;
mysql> CREATE USER 'some_user'@'%' IDENTIFIED BY 'some_pass';
mysql> GRANT ALL PRIVILEGES ON *.* TO 'some_user'@'%' WITH GRANT OPTION;
mysql> FLUSH PRIVILEGES;
- login phpmyadmin ด้วยชื่อ some_user ได้แล้วคับพี่น้อง
Env
- Ubuntu 18.04
- Installed LAMP
Ref
- https://askubuntu.com/questions/763336/cannot-enter-phpmyadmin-as-root-mysql-5-7
- กลับมาเขียน blog อีกครั้งในรอบปี ใช้ Ubuntu 18.04
- มีตัวช่วยสร้างภาพ capture คือ Shutter แต่ทำไมมัน Edit ไม่ได้
Solved
- ดาวน์โหลดและติดตั้ง .deb ตามนี้เลย
libgoocanvas-commonl
ibgoocanvas3
libgoo-canvas-perl
- การติดตั้งแค่ double click .deb คล้ายกันกับ ติดตั้ง .exe หรือ .msi บน windows นั่นแหละ
- ปิดและเปิด shutter ใหม่
sudo killall shutter && shutter
- ปุ่ม edit มันก็จะคลิกใช้งานได้แล้วคับพี่น้อง
Ref
- https://itsfoss.com/shutter-edit-button-disabled/
- ประเด็นคือ จะเปิด /var/www/html ของ apache ด้วย file manager สักตัว โดยสิทธิ์ admin ด้วยการ double click
- เงื่อนไขคือ ไม่ต้องไปยุ่งกะ permission ของ มันว่างั้น
- ซึ่งจริงแล้ว /var/www/html นั้น เจ้าของคือ root ถ้าเรามี user อื่นในระบบ และอยากเปิดสิทธิ์ให้ user เหล่านั้น ง่ายๆ คือ chmod -R 777 folder-name แค่เนี๋ย แต่เราไม่ทำ
- โจทย์ เรามี user1 ต้องการสร้าง shortcut บน /home/user1/Desktop เปิดใช้งานโดย double click ที่ shortcut นั้น
Step
- เปิด text editor สักตัว และทำการสร้างไฟล์ชื่อประมาณ myshortcut.desktop
nano /home/user1/Desktop/myshortcut.deskop
- ข้างในไฟล์มีสคริปประมาณนี้ จากนั้นทำการบันทึกไฟล์ให้เรียบร้อย
[Desktop Entry]
Version=1.0
Type=Application
Terminal=false
Name=HTML
Icon=/usr/share/icons/juuier/apache.png
Exec=nautilus -n admin:///var/www/html
Categories=Application
- Exec=ใส่คำสั่งที่เราต้องการให้ทำเมื่อ double click ที่ icon
- Terminal=false เพื่อไม่ต้องรัน terminal ขึ้นมาให้เห็นในกรณี มี warning หรือ error เราจะเห็นประโยชน์ของกาตั้งค่าเป็น true แต่ในที่นี้ไม่ต้องก็ใช้ false ไปคับ
- Name=ชื่อ shortcut
- https://linuxconfig.org/how-to-create-desktop-shortcut-launcher-on-ubuntu-18-04-bionic-beaver-linux