ที่มา : หนังสือ ธรรมบันดาล ของท่าน ว.วชิรเมธี
มลทินแห่งชีวิต
1. ความไม่โลภ
2. ความมีจิตคิดร้าย
3. ความโกรธ
4. ความแค้น
5. ความลบหลู่คุณท่าน
6. ความตีเสมอ ยกตัวเทียมท่าน
7. ความริษยา
8. ความตระหนี่
9. ความมีมารยา (หน้าไหว้หลังหลอก)
10. ความคุยโวโอ้อวด
11. ความหัวดื้อถือรั้น
12. ความแข่งดีมุ่งเอาชนะ
13. ความถือตัวอหังการ
14. ความดูถูกดูหมิ่น
15. ความมัวเมา
16. ความประมาท
สาธุ.................................. ^^
Sunday, October 29, 2006
Friday, October 27, 2006
แปลง พาร์ทิชั่น FAT เป็น NTFS
cmd:> convert /FS:NTFS /V
ตัวอย่าง
ต้องการ convert ไดรฟ์ D: ก็สั่งเป็น
cmd:> convert d: /fs:ntfs /v
ตัวอย่าง
ต้องการ convert ไดรฟ์ D: ก็สั่งเป็น
cmd:> convert d: /fs:ntfs /v
การเข้า FTP โดย บรรทัดคำสั่ง
window
> ftp host
> mget , ls
linux
# ftp host
# mget , ls
หรือ คิดไรไม่ออก
> help
# help
> ftp host
> mget , ls
linux
# ftp host
# mget , ls
หรือ คิดไรไม่ออก
> help
# help
ติดตั้ง RAR บน ลินุกซ์
ปัญหา
- บนลินุกซ์ที่ผมใช้ TLE 7 มันเปิด ไฟล์ที่มีนามสกุล rar ไม่ได้ง่ะ
วิธีแก้
- download rarlinux-3.5.1.tar.gz หรือ เป็นเวอร์ ชั่นอื่นก็ได้นะครับ ไม่จำเป็นต้องเป็น 3.5.1
# tar -xzvf rarlinux-3.5.1.tar.gz
# make
# make install
- แต่คิดว่าใช้ 7zip ดีกว่าแฮะ
- บนลินุกซ์ที่ผมใช้ TLE 7 มันเปิด ไฟล์ที่มีนามสกุล rar ไม่ได้ง่ะ
วิธีแก้
- download rarlinux-3.5.1.tar.gz หรือ เป็นเวอร์ ชั่นอื่นก็ได้นะครับ ไม่จำเป็นต้องเป็น 3.5.1
# tar -xzvf rarlinux-3.5.1.tar.gz
# make
# make install
- แต่คิดว่าใช้ 7zip ดีกว่าแฮะ
Thursday, October 26, 2006
ติดตั้ง MRTG ใน Linux ตะกูล Redhat
ก่อนการติดตั้ง
โปรแกรม MRTG ต้องทำงานร่วมกับโปรแกรมอื่นๆ อีกหลายตัว โดยที่โปรแกรมเหล่านี้ต้องมีการติดตั้งและเปิดการใช้บริการด้วย ถ้าโปรแกรมตัวใดตัวหนึ่งยังไม่ติดตั้งต้องดำเนินการติดตั้งก่อน
1. โพรโทคอล SNMP (Simple Network Management Protocol) เป็นโพรโทคอลสำหรับควบคุม และตรวจสอบอุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
2. httpd (Apache) เป็นโปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ ที่นำเสนอข้อมูลบนเว็บเบราเซอร์
ตรวจสอบการติดตั้ง พิมพ์ rpm -q httpd
ตรวจสอบการให้บริการ พิมพ์ service httpd status
3. net-snmp, net-snmp-utils เป็นเซอร์วิสของ SNMP และทำหน้าที่รวบรวมปริมาณการใช้งานเครือข่ายเพื่อส่งให้โพรโทคอล SNMP
ตรวจสอบการติดตั้ง
พิมพ์ rpm -q net-snmp
พิมพ์ rpm -q net-snmp-utils
ติดตั้ง net-snmp-utils
ปรับแต่งและทดสอบการทำงาน SNMP
4. crontabs เป็นโปรแกรมตั้งเวลาให้ MRTG สุ่มข้อมูลในช่วงเวลาที่กำหนด
ตรวจสอบการติดตั้ง พิมพ์ rpm -q crontabs
ตรวจสอบการให้บริการ พิมพ์ service crond status
5. GD เป็นไลบราลีช่วยในการนำเสนอข้อมูลด้านกราฟิก
ตรวจสอบการติดตั้ง พิมพ์ rpm -q gd
การติดตั้ง MRTG
การติดตั้งจะใช้โปรแกรม MRTG ที่มาพร้อมกับลินุกซ์ทะเล 7.0
ปรับแต่ง MRTG
การปรับแต่งค่าต่างๆ ของ MRTG อยู่ในไฟล์ mrtg.conf เก็บไว็ในพื้นที่ /etc/httpd/conf.d
แก้จาก Allow from ::1
เป็น Allow from all
ตัวอย่างการติดตั้ง MRTG Server ชื่อ localhost (ถ้าใช้งานจริงต้องเป็นชื่อโดเมนหรือ หมายเลยไอพีที่เป็น Gateway Server หรือ Router (ต้องมีการเปิดให้บริการ snmp) ที่ติดต่อไปยัง ISP)
เปิดไฟล์ /etc/mrtg/localhost.cfg ไปที่บรรทัด (Ctrl+I) 18 กด Enter 1 ครั้ง ให้เพิ่มข้อความ
RunAsDaemon: yes
คลิกไอคอน บันทึก
หมายเหตุ ถ้าต้องการสั่งให้สร้างเว็บเพจต่างๆ ที่เก็บสถิติการใช้งานเครือข่ายใหม่ ตอนเปิดเครื่องให้นำคำสั่ง mrtg /etc/mrtg/localhost.cfg พิมพ์ต่อจากบรรทัดสุดท้ายของไฟล์
ที่มา : MRTG_Server.pdf ของ นายนิวัฒน์ ยศบุญเรื่อง
โปรแกรม MRTG ต้องทำงานร่วมกับโปรแกรมอื่นๆ อีกหลายตัว โดยที่โปรแกรมเหล่านี้ต้องมีการติดตั้งและเปิดการใช้บริการด้วย ถ้าโปรแกรมตัวใดตัวหนึ่งยังไม่ติดตั้งต้องดำเนินการติดตั้งก่อน
1. โพรโทคอล SNMP (Simple Network Management Protocol) เป็นโพรโทคอลสำหรับควบคุม และตรวจสอบอุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
2. httpd (Apache) เป็นโปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ ที่นำเสนอข้อมูลบนเว็บเบราเซอร์
ตรวจสอบการติดตั้ง พิมพ์ rpm -q httpd
ตรวจสอบการให้บริการ พิมพ์ service httpd status
3. net-snmp, net-snmp-utils เป็นเซอร์วิสของ SNMP และทำหน้าที่รวบรวมปริมาณการใช้งานเครือข่ายเพื่อส่งให้โพรโทคอล SNMP
ตรวจสอบการติดตั้ง
พิมพ์ rpm -q net-snmp
พิมพ์ rpm -q net-snmp-utils
ติดตั้ง net-snmp-utils
- นำแผ่นลินุกซ์ทะเลแผ่นที่ 3 ใส่เครื่องอ่านซีดี
- ที่เดสก์ทอป ดับเบิลคลิกไอคอน ซีดี > TLE > RPMS.main > net-snmp-utils-5.1.2-11.1.tlc.i386.rpm
ปรับแต่งและทดสอบการทำงาน SNMP
- แก้ไขไฟล์ /etc/snmp/snmpd.conf ไปที่บรรทัด (Ctrl+I) 57 เพิ่มบรรทัดข้อความว่า
- สั่งตัวให้บริการ snmpd ให้ทำงานทุกครั้งที่บูทเครื่อง
- สั่งตัวให้บริการ snmpd เปิดบริการ
- หากแก้ไขไฟล์ /etc/snmp/snmpd.conf แล้ว ให้ระบบอ่านค่าที่ปรับใหม่ได้ด้วยคำสั่ง
- ทดสอบการทำงาน snmpd ด้วยคำสั่ง
4. crontabs เป็นโปรแกรมตั้งเวลาให้ MRTG สุ่มข้อมูลในช่วงเวลาที่กำหนด
ตรวจสอบการติดตั้ง พิมพ์ rpm -q crontabs
ตรวจสอบการให้บริการ พิมพ์ service crond status
5. GD เป็นไลบราลีช่วยในการนำเสนอข้อมูลด้านกราฟิก
ตรวจสอบการติดตั้ง พิมพ์ rpm -q gd
การติดตั้ง MRTG
การติดตั้งจะใช้โปรแกรม MRTG ที่มาพร้อมกับลินุกซ์ทะเล 7.0
- นำแผ่นที่ 3 ใส่เครื่องอ่านซีดี
- ที่เดสก์ทอป ดับเบิลคลิกไอคอน ซีดี > TLE > RPMS.main > mrtg-2.10.15-1.1.tlc.i386.rpm
- พื้นที่เก็บเว็บเพจของ MRTG คือ /var/www/mrtg
- เนื่องจาก MRTG ทำงานภายใต้ httpd หลังจากติดตั้ง MRTG ต้อง Restart Service httpd ด้วย
- ขอดูคำแนะนำการใช้งาน MRTG ที่ URL ของเว็บเบราเซอร์ พิมพ์ http://localhost/mrtg/index.html
ปรับแต่ง MRTG
การปรับแต่งค่าต่างๆ ของ MRTG อยู่ในไฟล์ mrtg.conf เก็บไว็ในพื้นที่ /etc/httpd/conf.d
- เปิดโปรแกรม gedit
- เปิดไฟล์ /etc/httpd/conf.d/mrtg.conf
- กำหนดเพื่ออนุญาติให้ทุก network สามารถอ่านข้อมูลได้
แก้จาก Allow from ::1
เป็น Allow from all
- สั่งตัวให้บริการ httpd ทำงานด้วยคำสั่ง service httpd start
ตัวอย่างการติดตั้ง MRTG Server ชื่อ localhost (ถ้าใช้งานจริงต้องเป็นชื่อโดเมนหรือ หมายเลยไอพีที่เป็น Gateway Server หรือ Router (ต้องมีการเปิดให้บริการ snmp) ที่ติดต่อไปยัง ISP)
- เปิดหน้าจอเทอร์มินอล
- สร้าง directory สำหรับเก็บเว็บเพจแสดงผลลัพธ์
- สั่งจัดการให้ evn ของระบบทำงานได้ อันนี้เจอบ่อยครับ
- สร้าง config file สำหรับ myhost
- สั่งให้สร้างเว็บเพจต่างๆ ที่เก็บสถิติการใช้งานเครือข่าย ด้วยคำสั่ง
- สร้าง index.html สำหรับเว็บเพจแรก mrtg ของ myhost
- ตั้งค่าให้ mrtg บันทึกค่าทุกๆ 5 นาที ด้วยการแก้ไขไฟล์ /etc/mrtg/localhost.cfg
เปิดไฟล์ /etc/mrtg/localhost.cfg ไปที่บรรทัด (Ctrl+I) 18 กด Enter 1 ครั้ง ให้เพิ่มข้อความ
RunAsDaemon: yes
คลิกไอคอน บันทึก
- สั่งให้สร้างเว็บเพจต่างๆ ที่เก็บสถิติการใช้งานเครือข่ายใหม่ ด้วยคำสั่ง
หมายเหตุ ถ้าต้องการสั่งให้สร้างเว็บเพจต่างๆ ที่เก็บสถิติการใช้งานเครือข่ายใหม่ ตอนเปิดเครื่องให้นำคำสั่ง mrtg /etc/mrtg/localhost.cfg พิมพ์ต่อจากบรรทัดสุดท้ายของไฟล์
ที่มา : MRTG_Server.pdf ของ นายนิวัฒน์ ยศบุญเรื่อง
Tuesday, October 10, 2006
Port
ที่มา : thaiadmin.org
สำหรับโปรแกรมประยุกต์(Application) ที่ใช้ TCP (Transmission Control Protocol) หรือ UDP (User Datagram Protocol) จะใช้หมายเลข port
หมายเลข port คืออะไร ?
หมายเลข port คือเลขฐาน 16 บิต ตั้งแต่ 0 ถึง 65535 หมายเลข port แต่ละหมายเลขจะถูกกำหนดโดยเฉพาะจาก OS (Operating Systems)
ทาง Internet Assigned Numbers Authority (IANA) เป็นหน่วยงานกลางในการประสานการเลือกใช้ Port ว่า Port หมายเลขใดควรเหมาะสำหรับ Service ใด
เช่น เลือกใช้ TCP Port หมายเลข 23 กับ Service Telnet และเลือกใช้ UDP Port หมายเลข 69 สำหรับ Service Trivial File transfer Protocol (TFTP)
หมายเลข Port ถูกจัดแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ well known Ports และ Registered Ports
well known Ports คืออะไร ?
Well Known Ports คือจะเป็น Port ที่ระบบส่วนใหญ่ กำหนดให้ใช้โดย Privileged User (ผู้ใช้ที่มีสิทธิพิเศษ) โดย port เหล่านี้ ใช้สำหรับการติดต่อระหว่างเครื่องที่มีระบบเวลาที่ยาวนาน วัตถุประสงค์เพื่อให้ service แก่ผู้ใช้ (ที่ไม่รู้จักหรือคุ้นเคย) แปลกหน้า จึงจำเป็นต้องกำหนด Port ติดต่อสำหรับ Service นั้นๆ
แล้ว Registered Ports ล่ะคืออะไร ?
Registered Ports จะเป็น Port หมายเลข 1024 ขึ้นไป
ตัวอย่างการใช้ Port
Transport layer segment ที่ประกอบไปด้วยหมายเลข Port ของเครื่องปลายทาง โดยที่เครื่องปลายทาง (Destination host) จะใช้ Port นี้ในการส่งข้อมูลให้กับ Application ได้ถูกต้อง หมายเลข Port จะอยู่ใน 32 bit แรกของ TCP และ UDP header โดยที่ 16 bit แรกเป็นหมายเลข Port ของเครื่องต้นทาง ขณะที่ 16 bit ต่อมาเป็นหมายเลข Port ของ เครื่องปลายทาง Well know Ports เป็น Port ที่ค่อนข้างมาตรฐาน ทำให้เครื่อง Remote Computer สามารถรู้ได้ว่าจะติดต่อกับทาง Port หมายเลขอะไรสำหรับ Service นั้นๆ
กลุ่มของหมายเลข Port และ หมายเลข IP เราเรียกว่า Socket ที่ประกอบด้วย Socket หนึ่งตัว สำหรับต้นทาง และอีกตัว สำหรับปลายทาง ดังรูป(ข้างล่างครับ)
ความแตกต่างระหว่าง Active และ Passive Port
ในการใช้การติดต่อด้วย TCP สามารถกระทำได้ 2 วิธีคือ Passive และ Active Connection Passive connection คือ การติดต่อที่ Application process สั่งให้ TCP รอหมายเลข Port สำหรับการร้องขอการติดต่อจาก Source Host เมื่อ TCP ได้รับการร้องขอแล้วจึงทำการเลือกหมายเลข Port ให้ แต่ถ้าเป็นแบบ Active TCP ก็จะให้ Application process เป็นฝ่ายเลือกหมายเลข Port ให้เลย
สำหรับโปรแกรมประยุกต์(Application) ที่ใช้ TCP (Transmission Control Protocol) หรือ UDP (User Datagram Protocol) จะใช้หมายเลข port
หมายเลข port คืออะไร ?
หมายเลข port คือเลขฐาน 16 บิต ตั้งแต่ 0 ถึง 65535 หมายเลข port แต่ละหมายเลขจะถูกกำหนดโดยเฉพาะจาก OS (Operating Systems)
ทาง Internet Assigned Numbers Authority (IANA) เป็นหน่วยงานกลางในการประสานการเลือกใช้ Port ว่า Port หมายเลขใดควรเหมาะสำหรับ Service ใด
เช่น เลือกใช้ TCP Port หมายเลข 23 กับ Service Telnet และเลือกใช้ UDP Port หมายเลข 69 สำหรับ Service Trivial File transfer Protocol (TFTP)
หมายเลข Port ถูกจัดแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ well known Ports และ Registered Ports
well known Ports คืออะไร ?
Well Known Ports คือจะเป็น Port ที่ระบบส่วนใหญ่ กำหนดให้ใช้โดย Privileged User (ผู้ใช้ที่มีสิทธิพิเศษ) โดย port เหล่านี้ ใช้สำหรับการติดต่อระหว่างเครื่องที่มีระบบเวลาที่ยาวนาน วัตถุประสงค์เพื่อให้ service แก่ผู้ใช้ (ที่ไม่รู้จักหรือคุ้นเคย) แปลกหน้า จึงจำเป็นต้องกำหนด Port ติดต่อสำหรับ Service นั้นๆ
แล้ว Registered Ports ล่ะคืออะไร ?
Registered Ports จะเป็น Port หมายเลข 1024 ขึ้นไป
ตัวอย่างการใช้ Port
Transport layer segment ที่ประกอบไปด้วยหมายเลข Port ของเครื่องปลายทาง โดยที่เครื่องปลายทาง (Destination host) จะใช้ Port นี้ในการส่งข้อมูลให้กับ Application ได้ถูกต้อง หมายเลข Port จะอยู่ใน 32 bit แรกของ TCP และ UDP header โดยที่ 16 bit แรกเป็นหมายเลข Port ของเครื่องต้นทาง ขณะที่ 16 bit ต่อมาเป็นหมายเลข Port ของ เครื่องปลายทาง Well know Ports เป็น Port ที่ค่อนข้างมาตรฐาน ทำให้เครื่อง Remote Computer สามารถรู้ได้ว่าจะติดต่อกับทาง Port หมายเลขอะไรสำหรับ Service นั้นๆ
กลุ่มของหมายเลข Port และ หมายเลข IP เราเรียกว่า Socket ที่ประกอบด้วย Socket หนึ่งตัว สำหรับต้นทาง และอีกตัว สำหรับปลายทาง ดังรูป(ข้างล่างครับ)
ความแตกต่างระหว่าง Active และ Passive Port
ในการใช้การติดต่อด้วย TCP สามารถกระทำได้ 2 วิธีคือ Passive และ Active Connection Passive connection คือ การติดต่อที่ Application process สั่งให้ TCP รอหมายเลข Port สำหรับการร้องขอการติดต่อจาก Source Host เมื่อ TCP ได้รับการร้องขอแล้วจึงทำการเลือกหมายเลข Port ให้ แต่ถ้าเป็นแบบ Active TCP ก็จะให้ Application process เป็นฝ่ายเลือกหมายเลข Port ให้เลย
พรบ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
ที่มา : narisa.com
# ส่วนที่ 5
การละเมิดลิขสิทธิ์
มาตรา 27 : การกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัตินี้ โดยไม่ได้รับอนุญาตตามมาตรา 15 (5) ให้ถือว่าเป็น การละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้กระทำดังต่อไปนี้
(1) ทำซ้ำหรือดัดแปลง
(2) เผยแพร่ต่อสาธารณชน
# ส่วนที่ 6
ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์
มาตรา 32 : การกระทำแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นตาม พระราชบัญญัตินี้ หากไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์จากงานอันมีลิขสิทธิ์ตามปกติของ เจ้าของลิขสิทธิ์และไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิอันชอบด้วยกฎหมาย ของเจ้าของลิขสิทธิ์เกินสมควร มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ภายใต้บังคับบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง การกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง แก่งานอันมีลิขสิทธิ์ตามวรรคหนึ่ง มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้ กระทำดังต่อไปนี้
(1) วิจัยหรือศึกษางานนั้น อันมิใช่การกระทำเพื่อหากำไร
(2) ใช้เพื่อประโยชน์ของตนเอง หรือเพื่อประโยชน์ของตนเอง และบุคคลอื่นในครอบครัวหรือญาติสนิท
(3) ติชม วิจารณ์ หรือแนะนำผลงานโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานนั้น
(4) เสนอรายงานข่าวทางสื่อสารมวลชนโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานนั้น
(5) ทำซ้ำ ดัดแปลง นำออกแสดง หรือทำให้ปรากฏ เพื่อประโยชน์ ในการพิจารณาของศาลหรือเจ้าพนักงานซึ่งมีอำนาจตามกฎหมาย หรือในการรายงานผลการพิจารณาดังกล่าว
(6) ทำซ้ำ ดัดแปลง นำออกแสดง หรือทำให้ปรากฏโดยผู้สอนเพื่อประโยชน์ในการสอนของตน อันมิใช่การกระทำเพื่อหากำไร
(7) ทำซ้ำ ดัดแปลงบางส่วนของงาน หรือตัดทอนหรือทำบทสรุป โดยผู้สอนหรือสถาบันศึกษา เพื่อแจกจ่ายหรือจำหน่ายแก่ผู้เรียนในชั้นเรียนหรือในสถาบันศึกษา ทั้งนี้ ต้องไม่เป็นการกระทำเพื่อหากำไร
(8) นำงานนั้นมาใช้เป็นส่วนหนึ่งในการถามและตอบในการสอบ มาตรา 33 การกล่าว คัด ลอก เลียน หรืออ้างอิงงานบางตอนตามสมควรจากงานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ โดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานนั้น มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้ปฏิบัติตามมาตรา 32 วรรคหนึ่ง
# ส่วนที่ 5
การละเมิดลิขสิทธิ์
มาตรา 27 : การกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัตินี้ โดยไม่ได้รับอนุญาตตามมาตรา 15 (5) ให้ถือว่าเป็น การละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้กระทำดังต่อไปนี้
(1) ทำซ้ำหรือดัดแปลง
(2) เผยแพร่ต่อสาธารณชน
# ส่วนที่ 6
ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์
มาตรา 32 : การกระทำแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นตาม พระราชบัญญัตินี้ หากไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์จากงานอันมีลิขสิทธิ์ตามปกติของ เจ้าของลิขสิทธิ์และไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิอันชอบด้วยกฎหมาย ของเจ้าของลิขสิทธิ์เกินสมควร มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ภายใต้บังคับบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง การกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง แก่งานอันมีลิขสิทธิ์ตามวรรคหนึ่ง มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้ กระทำดังต่อไปนี้
(1) วิจัยหรือศึกษางานนั้น อันมิใช่การกระทำเพื่อหากำไร
(2) ใช้เพื่อประโยชน์ของตนเอง หรือเพื่อประโยชน์ของตนเอง และบุคคลอื่นในครอบครัวหรือญาติสนิท
(3) ติชม วิจารณ์ หรือแนะนำผลงานโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานนั้น
(4) เสนอรายงานข่าวทางสื่อสารมวลชนโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานนั้น
(5) ทำซ้ำ ดัดแปลง นำออกแสดง หรือทำให้ปรากฏ เพื่อประโยชน์ ในการพิจารณาของศาลหรือเจ้าพนักงานซึ่งมีอำนาจตามกฎหมาย หรือในการรายงานผลการพิจารณาดังกล่าว
(6) ทำซ้ำ ดัดแปลง นำออกแสดง หรือทำให้ปรากฏโดยผู้สอนเพื่อประโยชน์ในการสอนของตน อันมิใช่การกระทำเพื่อหากำไร
(7) ทำซ้ำ ดัดแปลงบางส่วนของงาน หรือตัดทอนหรือทำบทสรุป โดยผู้สอนหรือสถาบันศึกษา เพื่อแจกจ่ายหรือจำหน่ายแก่ผู้เรียนในชั้นเรียนหรือในสถาบันศึกษา ทั้งนี้ ต้องไม่เป็นการกระทำเพื่อหากำไร
(8) นำงานนั้นมาใช้เป็นส่วนหนึ่งในการถามและตอบในการสอบ มาตรา 33 การกล่าว คัด ลอก เลียน หรืออ้างอิงงานบางตอนตามสมควรจากงานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ โดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานนั้น มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้ปฏิบัติตามมาตรา 32 วรรคหนึ่ง
Sunday, October 8, 2006
การลง plugin Visual Editor on Eclipse
# Visual Editor
# มันก็คือตัวช่วยที่เราใช้พัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาจาวา ให้สามารถสร้าง User Interface ให้ง่ายขึ้นไงล่ะครับ
# การลง plugin ก็มีขั้นตอนง่าย ๆ ดังนี้
1. เราต้องเตรียมไฟล์ emf-sdo-xsd-SDK-2.2.0.zip , GEF-ALL-3.2.zip และ VE-runtime-1.2.zip
* เวอร์ชั่นที่มัน support กับ eclipse ด้วยนะครับ ตอนนี้ อ้างอิงจาก Eclipse 3.2
2. เราแตกไฟล์ ซิป เหล่านี้ มันก็จะได้ folder eclipse ออกมา โดยที่ข้างใน folder นี้ มันก็จะมี folder ชื่อ
features แล้วก็ plugins ครับ ให้เรานำไฟล์ข้างในทั้ง 2 folder นี้ไปเพิ่มลงใน folder ชื่อ
features แล้วก็ plugins ของโปรแกรม Eclipse เรานะครับ
3. รันโปรแกรมขึ้นมา สร้างโปรเจคแล้ว เลือก Other มันก็จะมี Visual Class ขึ้นมาให้เราใช้งานนะครับ
4. ถ้าไม่เกิดอาไรขึ้น แสดงว่าไม่สำเร็จ เราสามารถแก้ได้โดย แตกโปรแกรม Eclipse ใหม่อีกครั้งหนึ่งแต่ต้องลบไอ้ตัวที่แตกก่อนหน้านี้ออกก่อนนะครับ พอแตกใหม่แล้วก็ให้ทำตามขั้นตอนที่ 1 - 3 อีกครั้งถ้ามี Visaul Class ให้แล้วแสดงว่า สำเร็จครับแต่ถ้ายังมะมีอีกล่ะก็ เวลาเรารัน ให้เราสั่งรันผ่าน command line นะครับด้วยคำสั่ง
cmd:\> eclipse -clean
# อันนี้ก็เป็นการเคลียร์ หน่วยความจำของโปรแกรมให้ แล้วก็ให้เรียกใช้ plugin ตัวที่เราลงใหม่ด้วยครับ
5. ถ้าทำทุกอย่างแล้วไม่ได้ซักกะที ตัวใครตัวมัน่นะครับ
# phpeclipse -> net.sourceforge.phpeclipse_1.1.8.bin.dist.zip
# มันก็คือตัวช่วยที่เราใช้พัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาจาวา ให้สามารถสร้าง User Interface ให้ง่ายขึ้นไงล่ะครับ
# การลง plugin ก็มีขั้นตอนง่าย ๆ ดังนี้
1. เราต้องเตรียมไฟล์ emf-sdo-xsd-SDK-2.2.0.zip , GEF-ALL-3.2.zip และ VE-runtime-1.2.zip
* เวอร์ชั่นที่มัน support กับ eclipse ด้วยนะครับ ตอนนี้ อ้างอิงจาก Eclipse 3.2
2. เราแตกไฟล์ ซิป เหล่านี้ มันก็จะได้ folder eclipse ออกมา โดยที่ข้างใน folder นี้ มันก็จะมี folder ชื่อ
features แล้วก็ plugins ครับ ให้เรานำไฟล์ข้างในทั้ง 2 folder นี้ไปเพิ่มลงใน folder ชื่อ
features แล้วก็ plugins ของโปรแกรม Eclipse เรานะครับ
3. รันโปรแกรมขึ้นมา สร้างโปรเจคแล้ว เลือก Other มันก็จะมี Visual Class ขึ้นมาให้เราใช้งานนะครับ
4. ถ้าไม่เกิดอาไรขึ้น แสดงว่าไม่สำเร็จ เราสามารถแก้ได้โดย แตกโปรแกรม Eclipse ใหม่อีกครั้งหนึ่งแต่ต้องลบไอ้ตัวที่แตกก่อนหน้านี้ออกก่อนนะครับ พอแตกใหม่แล้วก็ให้ทำตามขั้นตอนที่ 1 - 3 อีกครั้งถ้ามี Visaul Class ให้แล้วแสดงว่า สำเร็จครับแต่ถ้ายังมะมีอีกล่ะก็ เวลาเรารัน ให้เราสั่งรันผ่าน command line นะครับด้วยคำสั่ง
cmd:\> eclipse -clean
# อันนี้ก็เป็นการเคลียร์ หน่วยความจำของโปรแกรมให้ แล้วก็ให้เรียกใช้ plugin ตัวที่เราลงใหม่ด้วยครับ
5. ถ้าทำทุกอย่างแล้วไม่ได้ซักกะที ตัวใครตัวมัน่นะครับ
# phpeclipse -> net.sourceforge.phpeclipse_1.1.8.bin.dist.zip
Saturday, October 7, 2006
เปรียบเทียบ พอร์ต ระหว่าง windows กับ linux
Port name => Windows port identifier => What u user in Linux
Serial Port 1 => COM1 => /dev/ttyS0
SerialPort 2 => COM2 => /dev/ttyS1
Parallel Port 1 =>LPT1 => /dev/lp0
Parallel Port 2 => LPT2 => /dev/lp1
Serial Port 1 => COM1 => /dev/ttyS0
SerialPort 2 => COM2 => /dev/ttyS1
Parallel Port 1 =>LPT1 => /dev/lp0
Parallel Port 2 => LPT2 => /dev/lp1